วัวอินดูบราซิลมีอิทธิพลต่ออุตสาหกรรมวัวเนื้อของประเทศบราซิลระหว่างปีคศ.1925-1945 หลังจากนั้น จำนวนวัวเริ่มลดลง เมื่อความนิยมในวัวเนเลอร์มีอิทธิพลเพิ่มขึ้น
วัวซีบูจึงถูกนำไปใช้เพื่อการผสมข้ามพันธุ์ในการสร้างสายพันธุ์วัวเนื้อที่ดีขึ้นสำหรับการเลี้ยงวัวในภูมิภาคเขตร้อนของประเทศทั้งสอง
วัวอินดูบราซิลที่สร้างขึ้น เพื่อต้องการให้มีลักษณะพิเศษในเรื่องขนาดตัวที่ใหญ่ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหูขนาดใหญ่ของพวกมัน
วัวกีร์ มีความสำคัญต่อการสร้างสายเลือดวัวอเมริกันบราห์มันแดงในสหรัฐ
วัวสายพันธุ์Ongoleในอินเดียที่เป็นต้นกำเนิดวัวNelloreในประเทศบราซิล
วัวกุซราท เป็นสายพันธุ์ที่สำคัญที่สุดต่อการสร้างวัวบราห์มันเทาของสหรัฐ
แต่ด้วยเหตุว่ามีการผสมข้ามพันธุ์กับสายพันธุ์วัวอื่นๆ พวกมันไม่สามารถรักษาเอกลักษณ์ลักษณะของสายพันธุ์ของมันไว้ได้
คำทั้งสองคำนี้ เป็นที่มาของการใช้ตั้งชื่อสายพันธุ์วัวซีบูของชาวอเมริกัน และชาวบราซิล ที่นำเข้าต้นสายพันธุ์จากบริเวณที่แห่งนี้ไปเลี้ยงว่า บราห์มัน(ที่มาจากคำว่า พราหมณ์) และฮินดูบราซิล
วัวสาย IMPERATOR เป็นวัวต้นกำเนิดที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อสายพันธุ์โคอเมริกันบราห์มัน